วันจันทร์ที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2556

บทที่ 5


บทที่ 5
สรุปโครงการ

          ขั้นตอนนี้เป็นส่วนที่เชื่อมต่อระหว่าง การจัดทำโครงการ (Programming Stage) กับขั้นตอนการออกแบบ (Design Stage) ซึ่งเป็นการสรุปเนื้อหา และวิเคราะห์เพื่อเริ่มต้นการออกแบบ
            สิ่งที่นำเสนอเป็นการสรุปข้อมูลเพื่อให้เข้าใจภาพรวมของโครงการทั้งหมด ทั้งพื้นที่ใช้สอยโครงการ และที่ตั้งโครงการ และการนำข้อมูลทุกด้านมาวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์เพื่อตรวจสอบความเป็นไปได้ในการออกแบบ  และนำไปออกแบบขั้นต้น
            การสรุปโครงการคือ การสรุปประเด็นปัญหาเพื่อการออกแบบ  คือโจทย์ที่ให้สถาปนิกค้นหาในขั้นตอนการออกแบบ  โดยจะต้องสอดคล้องกับแนวความคิดในการออกแบบ และไม่ทำให้เกิดการหลงประเด็นในการออกแบบ  โดยจะต้องสอดคล้องกับแนวความคิดโครงการ เป้าหมายโครงการ  และอยู่ภายใต้ขอบเขตของกฎหมาย

            โดยการพิจารณาในส่วนของบทสรุปของโครงการจะมีหัวข้อในการพิจารณาดังนี้
            1.สรุปภาพรวมโครงการ (Project Summary)
2.การวิเคราะห์ความสัมพันธ์พื้นที่อาคารและที่ตั้งอาคาร (Site Related to Area Analysis)
3.โจทย์เพื่อการออกแบบ (Design Problems)
            4.การออกแบบทางเลือก (Schematic Design)

5.1สรุปภาพรวมโครงการ(PROJECT SUMMARY)
            การสรุปภาพรวมของโครงการเป็นการนำเสนอรายละเอียดโครงการโดยสรุป  เพื่อให้ผู้ออกแบบสามารถนำไปใช้ในการออกแบบเบื้องต้นได้  และเพื่อให้ผู้อ่านที่สนใจเฉพาะส่วนออกแบบได้รับข้อมูลโดยสั้นๆในส่วนนี้ โดยรายละเอียดในส่วนนี้ได้แก่ พื้นที่ใช้สอยโครงการ ความสัมพันธ์ของหน้าที่ใช้สอยในโครงการ รายละเอียดที่ตั้งโครงการ และงบประมาณการลงทุน

5.1.1พื้นที่โครงการ(Area Requirement)
          การสรุปพื้นที่ใช้สอยและพื้นที่สนับสนุนต่างๆของโครงการแยกตามองค์ประกอบหลักของโครงการ

5.1.3ที่ตั้งโครงการ(Site)
          1.แผนที่ตั้งโครงการ(Location Map)



เนื่องจากอำเภอหัวหินได้มีโครงการจัดทำAquariumเพื่อนสนับสนุนการท่องเที่ยวและการอำเภอหัวหิน
            พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำในประเทศไทย มีทั้งหมด 20 ที่
อยู่ในบริเวณภาคเหนือ 4 ที่
อยู่ในบริเวณภาคตะวันออก 4 ที่
อยู่ในบริเวณภาคตะวันตก 1 ที่
อยู่ในบริเวณกลาง 7 ที่
อยู่ในบริเวณภาคใต้ 4 ที่


SITE01 พื้นที่ประมาณ 36,800ตรม.หรือ 23 ไร่

SITE01ใช้เวลาในการเดินทางจากตัวเมืองประจวบคีรีขันธ์ 30 นาที มีหาดและสถานที่ท่องเที่ยวที่สวยงาม เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่คึกคักมีนักท่องเที่ยวทั้งไทยและชาวต่างชาติ อยู่ใกล้สนามบินท่องเที่ยวและจุดพักรถทั่ว
พื้นที่site
23 ไร่
23 x 1,600 = 36,800 ตร.ม
             
OSR  40 %             = 36,800 x 0.4
                         = 14,720ตร.ม
พื้นที่อาคารรวม          = 14,720x2
                            = 29,440
FAR                   = 14,720/2
                         = 7,360
36,800/7360                = 1:0.5
FAR                   = 1:0.5
สรุป
ขนาดพื้นที่ตั้ง 23 ไร่
Floor Area Ration 1 : 0.5
Open Space Ration 40 %
ตารางสรุปพื้นที่โครงการ
ส่วนองค์ประกอบหลัก 
13,598.8      ตร.ม 
ส่วนองค์ประกอบรอง 
1451             ตร.ม 
ส่วนสนับสนุนโครงการ 
936               ตร.ม 
ส่วนบริหารโครงการ 
215               ตร.ม 
ส่วนบริการโครงการ 
6193             ตร.ม 
ส่วนจอดรถ 
2900             ตร.ม 
พื้นที่โครงการทั้งหมด+ที่จอดรถ 
25787.8        ตร.ม 
พื้นที่โครงการไม่รวมที่จอดรถ
22,887.8       ตร.ม 
 5.3โจทย์เพื่อการออกแบบ(DESIGN PLOBLEM)
การจัดวางอาคารให้เหมาะสมกับอาคารรอบข้าง
          เนื่องจากพื้นที่ตั้งโครงการมีลักษณะที่ติดทะเลและมีถนนเข้าโครงการเพียงแค่ทางเดียวทำให้มีข้อจำกัดในการวางพื้นที่โครงการ ดังนั้นการวางพื้นที่โครงการจึงควรเหลือพื้นที่ว่าง และไม่ควรขึ้นอาคารที่มีความสูงมาก เนื่องจากจะทำให้เกิดการบดบังของอาคาร และก่อให้เกิดมุมมองที่ไม่ดีเกิดขึ้น

            เนื่องจากโครงการพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำฝั่งทะเลอันดามันจังหวัดกระบี่ทำให้โครงการต้องมีความทันสมัยและรูปแบบทางสถาปัตยกรรมตอบสนองต่อพื้นที่โครงการการและสภาพแวดล้อม

5.4การออกแบบทางเลือก (SCHEMATIC DESIGN)
การอกกแบบทางเลือก เป็นการศึกษาถึงการวางตำแหน่งของกลุ่มพื้นที่โครงการ  หรือองค์ประกอบต่างๆโครงการ ตามความเหมาะสมกับความสัมพันธ์ของทางสัญจร  กิจกรรมและสภาพเงื่อนไขต่างๆ ของที่ตั้งโครงการ
โดยการศึกษาการวางผังบริเวณ  (LAY- OUT)  ของโครงการและการวางตำแหน่งของกลุ่มพื้นที่ (ZONE) หรือองค์ประกอบโครงการต่างๆ รวมทั้งทางเข้า-ออก ระบบจราจรที่ว่างตามกฎหมาย ที่ว่างภายนอกตามโปรแกรม ที่พิจารณาได้จากสรุปภาพรวมโครงการ ที่ได้ทำไว้แล้วก่อนหน้านี้คือ
1.      เงื่อนไขของที่ตั้งโครงการที่ได้วิเคราะห์ (SITE CONDITION)
2.      ลำดับสำคัญของการเข้าถึงตามผังความสัมพันธ์ของหน้าที่ใช้สอย (FUNCTIONAL  DIAGRAM)
3.      พื้นที่ใช้สอยโครงการ (AREA) ในแต่ละองค์กระกอบโครงการ (ZONE)
4.      สัดส่วนพื้นที่ใช้สอยโครงการกับที่ตั้งโครงการ  ขนาดพื้นที่ต่อชั้น จำนวน ขั้น

การออกแบบทางเลือก เป็นการออกแบบโดยนำพื้นที่คร่าวๆ มาให้ตำแหน่งที่สัมพันธ์กับหัวข้อข้างต้นแล้ว  วางลงในผังบริเวณโครงการ และมีจำนวนชั้นโดยคร่าวๆ แล้วพัฒนารูปแบบการวางผังให้เหมาะสม  และได้รูปแบบที่ดีที่สุด  จาก 1 ไป 2 และ 3 ตามลำดับ โดยสอดคล้องกับการแก้ปัญหาเพื่อการออกแบบให้ได้มากที่สุด เมื่อได้ ZONING LAY-OUT ที่เหมาะสมแล้ว ก็จะนำไปใช้ในการออกแบบภาค DESIGN ต่อไป
5.4.1 การวางผังบริเวณ 3 ทางเลือก(Zoning Lay-out)
          การออกแบบแนวทางการจัดวางผัง 3ทางเลือกนี้เป็นการพัฒนาการจัดวาง Zoning ลงภายในที่ตั้งโครงการโดยตอบรับกับสัดส่วนของแต่ละพื้นที่ใช้สอยของแต่ละองค์ประกอบ โดยอ้างอิงถึงการวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการในหัวข้อต่างๆในข้างต้น ดังนั้นการออกแบบZoning ในขั้นตอนสุดท้ายจะมีประสิทธิภาพที่ดีที่สุด ที่จะนำไปใช้ในการออกแบบในขั้นตอนการออกแบบทางเลือก (Schematic Design)โดยทั่วไปจะมีเกณฑ์ในการร่วมพิจารณาในการออกแบบ ดังนี้
            ความเหมาะสมของการเข้าถึง(Accessibility)
            ความเหมาะสมของทิศทางแดด และลม(Orientation)
            ความเหมาะสมของการสัญจรหรือการสัญจรหลักภายใน(Circulation)
            ความเหมาะสมของสภาพรอบด้าน(Surrounding)

ความเหมาะสมของมุมมองจากภายนอก(View to Site)
            ความเหมาะสมจากมุมมองภายใน(View from Site)
            ความเหมาะสมของการเน้นทางเข้า(Approach)
            ความเหมาะสมของการเชื่อมต่อโครงการกับสถานที่อื่น(Linkage)
            รายละเอียดของการจัดวางผังบริเวณ 3ทางเลือกมีรายละเอียดดังนี้



zoning
มุมมองภายนอก
มุมมองภายใน
สาธารณูปโภค-สาธารณูปการ
การเข้าถึงโครงการ
ความสัมพันธ์ของFunction
A
A
B
A
C
85
A
B
B
A
A
90
A
B
B
A
B
85











Schematic


5.4.2การออกแบบร่างทางเลือก (Schematic Design)

การออกแบบร่างทางเลือกเป็นการออกแบบโดยการนำผังบริเวณอันที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดมาใช้ในการออกแบบร่างทางเลือก โดยมีพื้นที่ใกล้เคียงตามมาตราส่วน และแก้ไขปัญหาในการออกแบบ โดยพิจารณาทั้งในส่วนของระนาบ(Plan) รูปร่าง(Shape) รูปทรง(Form) ที่ว่าง(Space)และแนวคิดในการออกแบบ(Design Concept) หลังจากพิจารณาข้อดีข้อเสียของทั้ง3 แบบร่าง จึงนำแบบร่างที่เหมาะสมที่สุดที่ได้จากการออกแบบทางเลือก(Schematic Design) จะนำไปพัฒนาแบบร่าง (Design Development) ในรายละเอียดทางด้านหน้าที่ใช้สอย ด้านขนาดพื้นที่ ด้านรูปแบบอาคาร งานระบบ และด้านอื่นๆอีกต่อไป โดยหลักเกณฑ์ในการร่วมพิจารณามีดังนี้
            ความเหมาะสมของกลุ่มผู้ใช้โครงการ(User)
            ความเหมาะสมในการจัดกิจกรรมต่างๆ(Activity)
            ความเหมาะสมในการให้บริการ(Service)
            ความเหมาะสมในการจัดระบบรักษาความปลอดภัย(Security)
            ความเหมาะสมในการจัดเส้นทางสัญจร(Circulation)
            ความเหมาะสมกับจินตภาพตามแนวความคิด(Image)
            ความเหมาะสมในการแบ่งระยะโครงการ(Phasing)
            ความเหมาะสมในการใช้ระบบอาคารที่เลือก(Building System)
            ความเหมาะสมในการเลือกเทคโนโลยีพิเศษ(Specific Technology)
            ความเหมาะสมในการควบคุมคุณภาพและค่าก่อสร้างอาคาร(Quality Control)
            ความเหมาะสมในการควบคุมอนุรักษ์พลังงานในอาคาร(Energy Conservation)
            ความเหมาะสมในกรกลมกลืนเข้ากับสภาพแวดล้อม(Environment)
            ความเหมาะสมในการรักษาคุณค่าทางประวัติศาสตร์(Historic Preservation)
            ความเหมาะสมในการเชื่อมต่อและเอื้อประโยชน์ให้ชุมชนใกล้เคียง(Community Linkage)
            การออกแบบร่างทางเลือกทั้ง 3แบบที่อ้างอิงถึงผังบริเวณที่ดีที่สุดมีรายละเอียดดังนี้
ELEVATION


















ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น