วันจันทร์ที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2556

บทที่ 4



บทที่ 4
รายละเอียดโครงการ

            รายละเอียดโครงการเป็นการสังเคราะห์ข้อมูลในแต่ละด้านเพื่อนำไปกำหนดหาความต้องการการใช้งานในเชิงปริมาณที่มีความเกี่ยวข้องกับโครงการ โดยจะมีการแยกพิจารณาในด้านหัวข้อ ด้านหน้าที่ใช้สอย ด้านรูปแบบ ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านเทคโนโลยีและแนวทางในการออกแบบ เพื่อให้เกิดความเป็นไปได้ของโครงการที่ตรงเป้าหมายที่ชัดเจนและตอบสนองต่อวัตถุประสงค์โครงการ

ข้อคำนึงถึงในการทำรายละเอียดโครงการ

1.รายละเอียดโครงการจำเป็นที่จะต้องสอดคล้องกับโครงการในแง่ของความต้องการด้านหน้าที่ใช้สอย,ด้านรูปแบบ,ด้านเศรษฐศาสตร์และด้านเทคโนโลยีเพื่อให้เกิดความเป็นไปได้ของโครงการ
2.รายละเอียดของโครงการจะต้องไม่ขัดแย้งกับกฎหมายข้อบังคับต่างๆที่เกี่ยวกับประเภทอาคารและข้อจำกัดต่างๆในแต่ละพื้นที่ของโครงการ
3.รายละเอียดโครงการจะได้จากการสังเคราะห์แนวความคิดโครงการ โดยอาจจะต้องใช้หลักการทางคณิตศาสตร์มาใช้ในการคำนวณหรือสังเคราะห์เพื่อให้ได้ความต้องการโครงการที่เป็นรูปธรรมโดยที่จะต้องตอบสนองต่อเป้าหมายของโครงการในทุกๆด้าน
4.ในขั้นตอนของการออกแบบอาจที่จะต้องมีการปรับเปลี่ยนในรายละเอียดความต้องการของโครงการแต่ต้องรักษาภาพรวมของโครงการไว้โดยการเปลี่ยนแปลงนั้นไม่ควรที่จะเกิน 5 %ของข้อมูลรวม
5.ในทุกรายละเอียดและข้อมูลของโครงการจะต้องสามารถที่จะอ้างอิงได้ไม่ว่าจะเป็นการวิเคราะห์จากโครงการตัวอย่างจากผู้เชี่ยวชาญหรือจากการค้นคว้าในหนังสือ ซึ่งจะต้องมีการอ้างอิงทุกครั้งที่นำมาใช้ในการเขียนความต้องการโครงการ

4.1 รายละเอียดโครงการด้านหน้าที่ใช้สอย(FUNCTION NEEDS)
            การคำนวณหาพื้นที่ใช้สอยแล้วสามารถนำไปกำหนดความต้องการโครงการด้านหน้าที่ใช้สอยออกมาในรูปแบบของพื้นที่ได้โดยการคำนวณหาพื้นที่ ซึ่งจำเป็นต้องมีข้อพิจารณาดังต่อไปนี้
1.ส่วนองค์ประกอบหลัก ได้แก่ ส่วนนิทรรศการถาวร ส่วนนิทรรศการชั่วคราว ส่วนลานแสดงกลางแจ้ง
2.ส่วนองค์ประกอบรอง ได้แก่ ส่วนศูนย์วิจัย
3.ส่วนสนับสนุน ได้แก่ ส่วนร้านอาหาร ส่วนร้านขายของที่ระลึก

4.ส่วนสาธารณะ ได้แก่ส่วนโถงหลัก และส่วนจัดแสดงนิทรรศการภายนอก
5.ส่วนบริหารโครงการ
6.ส่วนบริการอาคาร
7.ส่วนที่จอดรถ
ส่วนองค์ประกอบหลัก 
13,598.8      ตร.ม 
ส่วนองค์ประกอบรอง 
1451             ตร.ม 
ส่วนสนับสนุนโครงการ 
936               ตร.ม 
ส่วนบริหารโครงการ 
215               ตร.ม 
ส่วนบริการโครงการ 
6193             ตร.ม 
ส่วนจอดรถ 
2900             ตร.ม 
พื้นที่โครงการทั้งหมด+ที่จอดรถ 
25787.8        ตร.ม 
พื้นที่โครงการไม่รวมที่จอดรถ
22,887.8       ตร.ม 


การคำนวณหาพื้นที่ใช้สอยโครงการ
ในการคำนวณหาขนาดพื้นที่ของโครงการ หาโดยการคำนวณจากขนาดพื้นที่กิจกรรมต่างๆที่เกิดขึ้นภายในโครงการพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำฝั่งทะเลอันดามันจังหวัดกระบี่ โดยกิจกรรมที่เกิดขึ้นภายในโครงการจะแสดงเป็นตารางโดยแยกเป็นกิจกรรมดังนี้

ส่วนหลักโครงการ

No
Type
Detail
Area
Circulation
Area
%
Area
ส่วนแสดงพันธุ์สัตว์น้ำทะเล
ส่วนสัตว์น้ำจืด
300
60%
180
480
ส่วนป่าชายเลน
500
60%
300
800
ส่วนแนวปะการัง
800
60%
480
1280
ส่วนแมงกะพรุน
500
60%
180
680
ส่วนจำลองมหาสมุทร
1300
60%
780
2080
ส่วนปลาล่าเหยื่อ
2,000
60%
1,200
3200
สัตว์ทะเลน้ำลึก(สัตว์สตัฟฟ์)
300
30%
30
330
ส่วนซ่อมบำรุง
2000
30%
600
2600
w.c
30
30%
9
39
ห้องเก็บอาคารสัตว์
30
-
-
30
ห้องเก็บอุปกรณ์
35
-
-
35
11554
No
Type
Detail
Area
Circulation
Area
%
Area
ส่วนแสดงโลมา
ที่นั่งชมการแสดง
200
30%
260
260
ส่วนแสดงโชว์/บ่อฝึกสัตว์น้ำ
800
30%
180
980
ส่วนบ่อกักโรคสัตว์น้ำ
50
30%
15
65
บ่อพักสัตว์น้ำ
500
30%
150
650
ส่วนงานระบบ
40
40%
16
56
ส่วนห้องพักผู้ฝึก 2ห้อง
34
-
-
34
ห้องแต่งตัวผู้ฝึก2ห้อง
34
-
-
34
ห้องเก็บอาหารสัตว์
30
-
-
30
ห้องเก็บอุปกรณ์
35
40%
14
49
ห้องปฐมพยาบาลสัตว์น้ำ2ห้อง
20
40%
8
28
ส่วนห้องน้ำเจ้าหน้าที่2ห้อง
26
30%
738
33.8
ส่วนห้องควบคุม
25
-
-
25
2044.8


ส่วนองค์ประกอบรองของโครงการ

No
Type
Detail
Area
Circulation
Area
%
Area
ส่วนวิจัย
ส่วนห้องวิจัย
140
40%
56
196
ส่วนห้องทดลอง2ห้อง
280
40%
112
392
ส่วนห้องเก็บเอกสาร
25
30%
7.5
32.5
ส่วนห้องเก็บอุปกรณ์2ห้อง
70
-
-
70
ส่วนห้องจัดเตรียมอุปกรณ์
35
-
-
35
ส่วนห้องพักนักวิจัย
40
-
-
40
ส่วนห้องล้างอุปกรณ์
10
30%
3
13
ส่วนห้องพักทานอาหารนักวิจัย
40
30%
12
52
ส่วนห้องแต่งตัว2ห้อง
30
-
-
30
ส่วนห้องฆ่าเชื้อ2ห้อง
40
30%
12
52


No
Type
Detail
Area
Circulation
Area
%
Area
ส่วนห้องเก็บของ
35
40%
14
49
ส่วนห้องน้ำ
30
30%
9
39
ห้องล้างจาน
15
30%
4.5
19.5
บ่อเพาะพันธุ์
250
30%
75
325
ห้องเก็บอาหารสัตว์
30
-
-
30
ห้องปฐมพยาบาล2ห้อง
40
40%
16
56
ส่วนห้องประชุมนักวิจัย
20
-
-
20
1451


ส่วนสนับสนุนโครงการ

No
Type
Detail
Area
Circulation
Area
%
Area
ส่วนพื้นที่ขายของ
ส่วนขายสินค้า
200
30%
60
260
ส่วนทานอาหาร
ส่วนนั่งทานอาหาร
400
30%
120
520
ส่วนร้านค้า 8 ร้าน
15
30%
7.5
156
936


ส่วนบริหารโครงการ

No
Type
Detail
Area
Circulation
Area
%
Area
ส่วนบริหารโครงการ
ห้องพนักงาน
135
30%
40.5
175.5
ส่วนห้องประชุม
20
-
-
20
ห้องน้ำ
15
30%
4.5
19.5
215

ส่วนบรการโครงการ
No
Type
Detail
Area
Circulation
Area
%
Area
ส่วนบริหาร
ส่วนห้องพักเจ้าหน้าที่
20
30%
6
26
ส่วนห้องน้ำ 2ห้อง
30
30%
9
39
Loading
56
-
-
56
Generator
300
-
-
300
MDB
250
-
-
250
เครื่องปั้มน้ำหลัก
160
-
-
160
ห้อง PABX
100
-
-
100
ห้องเก็บขยะ
200
-
-
200
ห้อง Ciller
60
-
-
60
tank
300
-
-
300
Cooling tower
300
-
-
300
เครื่องสูบน้ำ
70
-
-
70
เครื่องปั้มน้ำเล็ก
120
-
-
120
ห้องเก็บของ 2 ห้อง
150
-
-
150
ส่วนตอกบัตร
7.20
30
2.2
9.4
No
Type
Detail
Area
Circulation
Area
%
Area
ส่วนห้องเก็บอุปกรณ์ 2 ห้อง
40
-
-
40
ส่วนรับประทานอาหาร
40
30%
12
52
ส่วนห้องซักล้าง 2 ห้อง
50
-
-
50
ห้องหัวหน้าแผนกบริการ
15
30%
4.5
19.5
ห้องแม่บ้าน
20
30%
6
26
ห้องแปลี่ยนเสื้อผ้า
17
30%
5.1
22.1
locker
40
20%
8
48
ห้อง ร.ป.ภ
15
-
-
15
ห้องAHU
60
-
-
60
บ่อพักน้ำทะเล
3120
3120
ส่วนระบบบำบัดน้ำทะเล
500
500
6193
ส่วนจอดรถ
No
Type
จำนวนคัน
Area
Circulation
%
Area
จอดรถผู้ใช้โครงการ
90
1125
100%
2250
จอกรถบัส
5
150
100%
300
จอกรถเจ้าหน้าที่
8
100
100%
200
จอดรถบริการ
4
50
100%
100
จอกรถผู้บริหาร
2
25
100%
50
2900









ที่มาข้อมูล  :   Naeufert   Architect’ s  Data              , กฎหมายเทศบัญญัติ , Case  Study , การคำนวณ ,Time- Saver  Standards



สรุปการเลือกทำเลที่ตั้ง
โดยใช้หลักเกณฑ์ในการให้คะแนนในการเลือกดังนี้
1.      แหล่งทรัพยากร (LOCAL RESOURCE) มีทรัพยากรที่เกื้อหนุนและสอดคล้องกับโครงการมากแค่ไหน
2.      ข้อจำกัดทางกฎหมาย (LAWS) มีข้อกำหนดทางกฎหมายที่เป็นอุปสรรคหรือเกื้อหนุนหรือไม่
3.      กิจกรรมหรือโครงการสนับสนุน (IMPORTANT LINKAGE) มีความเชื่อมโยงกับกิจกรรมพื้นที่หรือโครงการที่จะสนับสนุนให้ดีขึ้นหรือไม่
4.      ระบบการขนส่ง (TRANSPORTATION) มีเส้นทางคมนาคมระบบจราจรขนส่งอย่างไร
5.      ความปลอดภัย (SAFETY) มีความปลอดภัยแค่ไหน
โดยแบ่งระดับคะแนนดังนี้ (คะแนนเต็ม 25 คะแนน)

แหล่งทรัพยากร (LOCAL RESOURCE)  =  5

ข้อจำกัดทางกฎหมาย (LAWS)  =  5

กิจกรรมหรือโครงการสนับสนุน (IMPORTANT LINKAGE)  =  5

ระบบการขนส่ง (TRANSPORTATION) = 5

ความปลอดภัย (SAFETY)  =  5



ทำการเลือก SITE โดยวิเคราะห์จากสถานที่ที่เป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวและอยู่ติดกับถนนหลักและใกล้กับทะเลโดยจากการวิเคราะห์จะแยกได้เป็น ที่

 SITE01 พื้นที่ประมาณ 36,800ตรม.หรือ 23 ไร่



SITE01ใช้เวลาในการเดินทางจากตัวเมืองประจวบคีรีขันธ์ 30 นาที มีหาดและสถานที่ท่องเที่ยวที่สวยงาม เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่คึกคักมีนักท่องเที่ยวทั้งไทยและชาวต่างชาติ อยู่ใกล้สนามบินท่องเที่ยวและจุดพักรถทั่ว

SITE02 พื้นที่ประมาณ 31,200 ตร.มหรือ 19 ไร่













SITE02อยู่ใกล้กับแหล่งท่องเที่ยวและสถานที่พัก
SITE 03 พื้นที่ประมาณ 31,250 ตร.มหรือ 19 ไร่


SITE 03 สถานที่ที่เลือกอยู่ติดกับสถานที่ท่องเที่ยวและบริเวณศูนย์การค้า





จากการให้คะแนนการเลือกทำเลที่ตั้งของโครงการทั้ง 3 แห่งจะเห็นได้ว่าSITE01 บริเวณ มีศักยภาพที่เหมาะจะเป็นที่ตั้งโครงการพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำมากที่สุด เนื่องจากปัจจัยทางกายภาพในด้านต่างๆ

1.2.2 การกำหนดขนาดที่ตั้งโครงการ (Size of the Proposed Site)
การพิจารณาหาพื้นที่โครงการเบื้องต้นมีขั้นตอน ดังนี้
พื้นที่site
23 ไร่
23 x 1,600 = 36,800 ตร.ม
             
OSR  40 %             = 36,800 x 0.4
                         = 14,720ตร.ม
พื้นที่อาคารรวม          = 14,720x2
                            29,440
FAR                   = 14,720/2
                         = 7,360
36,800/7360                1:0.5
FAR                   = 1:0.5
สรุป
ขนาดพื้นที่ตั้ง 23 ไร่
Floor Area Ration 1 : 0.5
Open Space Ration 40 %




















ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น