วันจันทร์ที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2556

บรรณานุกรม


บรรณานุกรม

นายภาคภูมิ ตรีประสิทธิ์ , พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำทางทะเล วิทยานิพนธ์
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต, 2552
นายจารึก  ทวีศรีอำนวย , Bangkok Ocean World วิทยานิพนธ์
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต, 2550
นายสุรวุฒิ เวฬุตันติ  , Blue Ocean Aquarium วิทยานิพนธ์
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต, 2552
ข้อมูลจาก สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล ม.บูรพา
ข้อมูลจาก พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำจังหวัดกระบี่
อ.เขมชาติ   วงศ์ทิมารัตน์ การจัดทำโครงการทาง สถาปัตยกรรมศาสตร์
กรุงเทพมหานคร : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
" Architects' Data " . Third Edition , Edited by Bousmaha Baiche and Nicholas Walliman

บทที่ 6


บทที่ 6
การออกแบบงานสถาปัตยกรรม
โครงการ :  พิพิธภัณฑ์สิ่งมีชีวิตในทะเลหัวหิน
          โครงการพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำทะเล หัวหิน เกิดจากความร่วมมือของกรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกาท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย โดยอยู่ภายใต้ความควบคุมของสถาบันวิจัยทางทะเล ที่ต้องการจะจัดตั้งโครงการศูนย์จัดแสดงสัตว์น้ำทางทะเล เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวของอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ที่กำลังเติบโตเป็นแหล่งท่องเที่ยวระดับภูมิภาค และนานาชาติ 
           
            โครงการพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำในทะเลมีความเป็นมาจาก
การท่องเที่ยว + การอนุรักษ์ 
            1 การท่องเที่ยวจะเน้นไปที่ตัว Aquarium คือส่วนแสดงพันธุ์สิ่งมีชีวิตน้ำเค็มซึ่งจะเปิดให้ผู้คนเข้าชมและศึกษาข้อมูลเบื้องต้น ในสวนนี้ถือว่าสำคัญมากเพราะเป็นส่วนหลักของงานและเป็นพื้นที่ที่ user เข้าถึงดังนั้นการให้ความรู้เป็นสิ่งที่สำคัญทั้งในเชิงสถาปัตยกรรม และเชิงวิทยาศาสตร์ ส่วนนี้จะสามารถนำรายได้หลักเข้าสู่พิพิธภัณฑ์
            2 การอนุรักษ์ การอนุรักษ์พันธ์ิ่สิ่งมีชีวิตใต้ท้องทะเลเป็นส่วนที่เพาะเลี้ยงสิ่งมีชีวิต และวิจัยต่างๆซึ่งในส่วนตรงนี้อาจจะมีคนเข้ามาน้อยเพราะต้องการความปลอดภัยสูง ถือเป็นส่วนที่สำคัญยิ่ง

            ขณะที่
Aquariumกำลังได้รับความสนใจจากหมู่นักท่องเที่ยว Aquarium จะมีรับรายได้มหาศาล ทั้งสองส่วนนี้รวมตัวกันขึ้นเพื่อปฏิบัติต่อโลกให้ก่อเกิดสิ่งที่จะสามารถสร้างสรรค์ทั้งความบันเทิงและรักษาการดำรงอยู่
Site Analysis
Master Plan

Planing Floor 01

Planing Floor 02

Planing Roof plan

Elevation



Section



Perspective





Interior








บทที่ 5


บทที่ 5
สรุปโครงการ

          ขั้นตอนนี้เป็นส่วนที่เชื่อมต่อระหว่าง การจัดทำโครงการ (Programming Stage) กับขั้นตอนการออกแบบ (Design Stage) ซึ่งเป็นการสรุปเนื้อหา และวิเคราะห์เพื่อเริ่มต้นการออกแบบ
            สิ่งที่นำเสนอเป็นการสรุปข้อมูลเพื่อให้เข้าใจภาพรวมของโครงการทั้งหมด ทั้งพื้นที่ใช้สอยโครงการ และที่ตั้งโครงการ และการนำข้อมูลทุกด้านมาวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์เพื่อตรวจสอบความเป็นไปได้ในการออกแบบ  และนำไปออกแบบขั้นต้น
            การสรุปโครงการคือ การสรุปประเด็นปัญหาเพื่อการออกแบบ  คือโจทย์ที่ให้สถาปนิกค้นหาในขั้นตอนการออกแบบ  โดยจะต้องสอดคล้องกับแนวความคิดในการออกแบบ และไม่ทำให้เกิดการหลงประเด็นในการออกแบบ  โดยจะต้องสอดคล้องกับแนวความคิดโครงการ เป้าหมายโครงการ  และอยู่ภายใต้ขอบเขตของกฎหมาย

            โดยการพิจารณาในส่วนของบทสรุปของโครงการจะมีหัวข้อในการพิจารณาดังนี้
            1.สรุปภาพรวมโครงการ (Project Summary)
2.การวิเคราะห์ความสัมพันธ์พื้นที่อาคารและที่ตั้งอาคาร (Site Related to Area Analysis)
3.โจทย์เพื่อการออกแบบ (Design Problems)
            4.การออกแบบทางเลือก (Schematic Design)

5.1สรุปภาพรวมโครงการ(PROJECT SUMMARY)
            การสรุปภาพรวมของโครงการเป็นการนำเสนอรายละเอียดโครงการโดยสรุป  เพื่อให้ผู้ออกแบบสามารถนำไปใช้ในการออกแบบเบื้องต้นได้  และเพื่อให้ผู้อ่านที่สนใจเฉพาะส่วนออกแบบได้รับข้อมูลโดยสั้นๆในส่วนนี้ โดยรายละเอียดในส่วนนี้ได้แก่ พื้นที่ใช้สอยโครงการ ความสัมพันธ์ของหน้าที่ใช้สอยในโครงการ รายละเอียดที่ตั้งโครงการ และงบประมาณการลงทุน

5.1.1พื้นที่โครงการ(Area Requirement)
          การสรุปพื้นที่ใช้สอยและพื้นที่สนับสนุนต่างๆของโครงการแยกตามองค์ประกอบหลักของโครงการ

5.1.3ที่ตั้งโครงการ(Site)
          1.แผนที่ตั้งโครงการ(Location Map)



เนื่องจากอำเภอหัวหินได้มีโครงการจัดทำAquariumเพื่อนสนับสนุนการท่องเที่ยวและการอำเภอหัวหิน
            พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำในประเทศไทย มีทั้งหมด 20 ที่
อยู่ในบริเวณภาคเหนือ 4 ที่
อยู่ในบริเวณภาคตะวันออก 4 ที่
อยู่ในบริเวณภาคตะวันตก 1 ที่
อยู่ในบริเวณกลาง 7 ที่
อยู่ในบริเวณภาคใต้ 4 ที่


SITE01 พื้นที่ประมาณ 36,800ตรม.หรือ 23 ไร่

SITE01ใช้เวลาในการเดินทางจากตัวเมืองประจวบคีรีขันธ์ 30 นาที มีหาดและสถานที่ท่องเที่ยวที่สวยงาม เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่คึกคักมีนักท่องเที่ยวทั้งไทยและชาวต่างชาติ อยู่ใกล้สนามบินท่องเที่ยวและจุดพักรถทั่ว
พื้นที่site
23 ไร่
23 x 1,600 = 36,800 ตร.ม
             
OSR  40 %             = 36,800 x 0.4
                         = 14,720ตร.ม
พื้นที่อาคารรวม          = 14,720x2
                            = 29,440
FAR                   = 14,720/2
                         = 7,360
36,800/7360                = 1:0.5
FAR                   = 1:0.5
สรุป
ขนาดพื้นที่ตั้ง 23 ไร่
Floor Area Ration 1 : 0.5
Open Space Ration 40 %
ตารางสรุปพื้นที่โครงการ
ส่วนองค์ประกอบหลัก 
13,598.8      ตร.ม 
ส่วนองค์ประกอบรอง 
1451             ตร.ม 
ส่วนสนับสนุนโครงการ 
936               ตร.ม 
ส่วนบริหารโครงการ 
215               ตร.ม 
ส่วนบริการโครงการ 
6193             ตร.ม 
ส่วนจอดรถ 
2900             ตร.ม 
พื้นที่โครงการทั้งหมด+ที่จอดรถ 
25787.8        ตร.ม 
พื้นที่โครงการไม่รวมที่จอดรถ
22,887.8       ตร.ม 
 5.3โจทย์เพื่อการออกแบบ(DESIGN PLOBLEM)
การจัดวางอาคารให้เหมาะสมกับอาคารรอบข้าง
          เนื่องจากพื้นที่ตั้งโครงการมีลักษณะที่ติดทะเลและมีถนนเข้าโครงการเพียงแค่ทางเดียวทำให้มีข้อจำกัดในการวางพื้นที่โครงการ ดังนั้นการวางพื้นที่โครงการจึงควรเหลือพื้นที่ว่าง และไม่ควรขึ้นอาคารที่มีความสูงมาก เนื่องจากจะทำให้เกิดการบดบังของอาคาร และก่อให้เกิดมุมมองที่ไม่ดีเกิดขึ้น

            เนื่องจากโครงการพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำฝั่งทะเลอันดามันจังหวัดกระบี่ทำให้โครงการต้องมีความทันสมัยและรูปแบบทางสถาปัตยกรรมตอบสนองต่อพื้นที่โครงการการและสภาพแวดล้อม

5.4การออกแบบทางเลือก (SCHEMATIC DESIGN)
การอกกแบบทางเลือก เป็นการศึกษาถึงการวางตำแหน่งของกลุ่มพื้นที่โครงการ  หรือองค์ประกอบต่างๆโครงการ ตามความเหมาะสมกับความสัมพันธ์ของทางสัญจร  กิจกรรมและสภาพเงื่อนไขต่างๆ ของที่ตั้งโครงการ
โดยการศึกษาการวางผังบริเวณ  (LAY- OUT)  ของโครงการและการวางตำแหน่งของกลุ่มพื้นที่ (ZONE) หรือองค์ประกอบโครงการต่างๆ รวมทั้งทางเข้า-ออก ระบบจราจรที่ว่างตามกฎหมาย ที่ว่างภายนอกตามโปรแกรม ที่พิจารณาได้จากสรุปภาพรวมโครงการ ที่ได้ทำไว้แล้วก่อนหน้านี้คือ
1.      เงื่อนไขของที่ตั้งโครงการที่ได้วิเคราะห์ (SITE CONDITION)
2.      ลำดับสำคัญของการเข้าถึงตามผังความสัมพันธ์ของหน้าที่ใช้สอย (FUNCTIONAL  DIAGRAM)
3.      พื้นที่ใช้สอยโครงการ (AREA) ในแต่ละองค์กระกอบโครงการ (ZONE)
4.      สัดส่วนพื้นที่ใช้สอยโครงการกับที่ตั้งโครงการ  ขนาดพื้นที่ต่อชั้น จำนวน ขั้น

การออกแบบทางเลือก เป็นการออกแบบโดยนำพื้นที่คร่าวๆ มาให้ตำแหน่งที่สัมพันธ์กับหัวข้อข้างต้นแล้ว  วางลงในผังบริเวณโครงการ และมีจำนวนชั้นโดยคร่าวๆ แล้วพัฒนารูปแบบการวางผังให้เหมาะสม  และได้รูปแบบที่ดีที่สุด  จาก 1 ไป 2 และ 3 ตามลำดับ โดยสอดคล้องกับการแก้ปัญหาเพื่อการออกแบบให้ได้มากที่สุด เมื่อได้ ZONING LAY-OUT ที่เหมาะสมแล้ว ก็จะนำไปใช้ในการออกแบบภาค DESIGN ต่อไป
5.4.1 การวางผังบริเวณ 3 ทางเลือก(Zoning Lay-out)
          การออกแบบแนวทางการจัดวางผัง 3ทางเลือกนี้เป็นการพัฒนาการจัดวาง Zoning ลงภายในที่ตั้งโครงการโดยตอบรับกับสัดส่วนของแต่ละพื้นที่ใช้สอยของแต่ละองค์ประกอบ โดยอ้างอิงถึงการวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการในหัวข้อต่างๆในข้างต้น ดังนั้นการออกแบบZoning ในขั้นตอนสุดท้ายจะมีประสิทธิภาพที่ดีที่สุด ที่จะนำไปใช้ในการออกแบบในขั้นตอนการออกแบบทางเลือก (Schematic Design)โดยทั่วไปจะมีเกณฑ์ในการร่วมพิจารณาในการออกแบบ ดังนี้
            ความเหมาะสมของการเข้าถึง(Accessibility)
            ความเหมาะสมของทิศทางแดด และลม(Orientation)
            ความเหมาะสมของการสัญจรหรือการสัญจรหลักภายใน(Circulation)
            ความเหมาะสมของสภาพรอบด้าน(Surrounding)

ความเหมาะสมของมุมมองจากภายนอก(View to Site)
            ความเหมาะสมจากมุมมองภายใน(View from Site)
            ความเหมาะสมของการเน้นทางเข้า(Approach)
            ความเหมาะสมของการเชื่อมต่อโครงการกับสถานที่อื่น(Linkage)
            รายละเอียดของการจัดวางผังบริเวณ 3ทางเลือกมีรายละเอียดดังนี้



zoning
มุมมองภายนอก
มุมมองภายใน
สาธารณูปโภค-สาธารณูปการ
การเข้าถึงโครงการ
ความสัมพันธ์ของFunction
A
A
B
A
C
85
A
B
B
A
A
90
A
B
B
A
B
85











Schematic


5.4.2การออกแบบร่างทางเลือก (Schematic Design)

การออกแบบร่างทางเลือกเป็นการออกแบบโดยการนำผังบริเวณอันที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดมาใช้ในการออกแบบร่างทางเลือก โดยมีพื้นที่ใกล้เคียงตามมาตราส่วน และแก้ไขปัญหาในการออกแบบ โดยพิจารณาทั้งในส่วนของระนาบ(Plan) รูปร่าง(Shape) รูปทรง(Form) ที่ว่าง(Space)และแนวคิดในการออกแบบ(Design Concept) หลังจากพิจารณาข้อดีข้อเสียของทั้ง3 แบบร่าง จึงนำแบบร่างที่เหมาะสมที่สุดที่ได้จากการออกแบบทางเลือก(Schematic Design) จะนำไปพัฒนาแบบร่าง (Design Development) ในรายละเอียดทางด้านหน้าที่ใช้สอย ด้านขนาดพื้นที่ ด้านรูปแบบอาคาร งานระบบ และด้านอื่นๆอีกต่อไป โดยหลักเกณฑ์ในการร่วมพิจารณามีดังนี้
            ความเหมาะสมของกลุ่มผู้ใช้โครงการ(User)
            ความเหมาะสมในการจัดกิจกรรมต่างๆ(Activity)
            ความเหมาะสมในการให้บริการ(Service)
            ความเหมาะสมในการจัดระบบรักษาความปลอดภัย(Security)
            ความเหมาะสมในการจัดเส้นทางสัญจร(Circulation)
            ความเหมาะสมกับจินตภาพตามแนวความคิด(Image)
            ความเหมาะสมในการแบ่งระยะโครงการ(Phasing)
            ความเหมาะสมในการใช้ระบบอาคารที่เลือก(Building System)
            ความเหมาะสมในการเลือกเทคโนโลยีพิเศษ(Specific Technology)
            ความเหมาะสมในการควบคุมคุณภาพและค่าก่อสร้างอาคาร(Quality Control)
            ความเหมาะสมในการควบคุมอนุรักษ์พลังงานในอาคาร(Energy Conservation)
            ความเหมาะสมในกรกลมกลืนเข้ากับสภาพแวดล้อม(Environment)
            ความเหมาะสมในการรักษาคุณค่าทางประวัติศาสตร์(Historic Preservation)
            ความเหมาะสมในการเชื่อมต่อและเอื้อประโยชน์ให้ชุมชนใกล้เคียง(Community Linkage)
            การออกแบบร่างทางเลือกทั้ง 3แบบที่อ้างอิงถึงผังบริเวณที่ดีที่สุดมีรายละเอียดดังนี้
ELEVATION


















บทที่ 4



บทที่ 4
รายละเอียดโครงการ

            รายละเอียดโครงการเป็นการสังเคราะห์ข้อมูลในแต่ละด้านเพื่อนำไปกำหนดหาความต้องการการใช้งานในเชิงปริมาณที่มีความเกี่ยวข้องกับโครงการ โดยจะมีการแยกพิจารณาในด้านหัวข้อ ด้านหน้าที่ใช้สอย ด้านรูปแบบ ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านเทคโนโลยีและแนวทางในการออกแบบ เพื่อให้เกิดความเป็นไปได้ของโครงการที่ตรงเป้าหมายที่ชัดเจนและตอบสนองต่อวัตถุประสงค์โครงการ

ข้อคำนึงถึงในการทำรายละเอียดโครงการ

1.รายละเอียดโครงการจำเป็นที่จะต้องสอดคล้องกับโครงการในแง่ของความต้องการด้านหน้าที่ใช้สอย,ด้านรูปแบบ,ด้านเศรษฐศาสตร์และด้านเทคโนโลยีเพื่อให้เกิดความเป็นไปได้ของโครงการ
2.รายละเอียดของโครงการจะต้องไม่ขัดแย้งกับกฎหมายข้อบังคับต่างๆที่เกี่ยวกับประเภทอาคารและข้อจำกัดต่างๆในแต่ละพื้นที่ของโครงการ
3.รายละเอียดโครงการจะได้จากการสังเคราะห์แนวความคิดโครงการ โดยอาจจะต้องใช้หลักการทางคณิตศาสตร์มาใช้ในการคำนวณหรือสังเคราะห์เพื่อให้ได้ความต้องการโครงการที่เป็นรูปธรรมโดยที่จะต้องตอบสนองต่อเป้าหมายของโครงการในทุกๆด้าน
4.ในขั้นตอนของการออกแบบอาจที่จะต้องมีการปรับเปลี่ยนในรายละเอียดความต้องการของโครงการแต่ต้องรักษาภาพรวมของโครงการไว้โดยการเปลี่ยนแปลงนั้นไม่ควรที่จะเกิน 5 %ของข้อมูลรวม
5.ในทุกรายละเอียดและข้อมูลของโครงการจะต้องสามารถที่จะอ้างอิงได้ไม่ว่าจะเป็นการวิเคราะห์จากโครงการตัวอย่างจากผู้เชี่ยวชาญหรือจากการค้นคว้าในหนังสือ ซึ่งจะต้องมีการอ้างอิงทุกครั้งที่นำมาใช้ในการเขียนความต้องการโครงการ

4.1 รายละเอียดโครงการด้านหน้าที่ใช้สอย(FUNCTION NEEDS)
            การคำนวณหาพื้นที่ใช้สอยแล้วสามารถนำไปกำหนดความต้องการโครงการด้านหน้าที่ใช้สอยออกมาในรูปแบบของพื้นที่ได้โดยการคำนวณหาพื้นที่ ซึ่งจำเป็นต้องมีข้อพิจารณาดังต่อไปนี้
1.ส่วนองค์ประกอบหลัก ได้แก่ ส่วนนิทรรศการถาวร ส่วนนิทรรศการชั่วคราว ส่วนลานแสดงกลางแจ้ง
2.ส่วนองค์ประกอบรอง ได้แก่ ส่วนศูนย์วิจัย
3.ส่วนสนับสนุน ได้แก่ ส่วนร้านอาหาร ส่วนร้านขายของที่ระลึก

4.ส่วนสาธารณะ ได้แก่ส่วนโถงหลัก และส่วนจัดแสดงนิทรรศการภายนอก
5.ส่วนบริหารโครงการ
6.ส่วนบริการอาคาร
7.ส่วนที่จอดรถ
ส่วนองค์ประกอบหลัก 
13,598.8      ตร.ม 
ส่วนองค์ประกอบรอง 
1451             ตร.ม 
ส่วนสนับสนุนโครงการ 
936               ตร.ม 
ส่วนบริหารโครงการ 
215               ตร.ม 
ส่วนบริการโครงการ 
6193             ตร.ม 
ส่วนจอดรถ 
2900             ตร.ม 
พื้นที่โครงการทั้งหมด+ที่จอดรถ 
25787.8        ตร.ม 
พื้นที่โครงการไม่รวมที่จอดรถ
22,887.8       ตร.ม 


การคำนวณหาพื้นที่ใช้สอยโครงการ
ในการคำนวณหาขนาดพื้นที่ของโครงการ หาโดยการคำนวณจากขนาดพื้นที่กิจกรรมต่างๆที่เกิดขึ้นภายในโครงการพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำฝั่งทะเลอันดามันจังหวัดกระบี่ โดยกิจกรรมที่เกิดขึ้นภายในโครงการจะแสดงเป็นตารางโดยแยกเป็นกิจกรรมดังนี้

ส่วนหลักโครงการ

No
Type
Detail
Area
Circulation
Area
%
Area
ส่วนแสดงพันธุ์สัตว์น้ำทะเล
ส่วนสัตว์น้ำจืด
300
60%
180
480
ส่วนป่าชายเลน
500
60%
300
800
ส่วนแนวปะการัง
800
60%
480
1280
ส่วนแมงกะพรุน
500
60%
180
680
ส่วนจำลองมหาสมุทร
1300
60%
780
2080
ส่วนปลาล่าเหยื่อ
2,000
60%
1,200
3200
สัตว์ทะเลน้ำลึก(สัตว์สตัฟฟ์)
300
30%
30
330
ส่วนซ่อมบำรุง
2000
30%
600
2600
w.c
30
30%
9
39
ห้องเก็บอาคารสัตว์
30
-
-
30
ห้องเก็บอุปกรณ์
35
-
-
35
11554
No
Type
Detail
Area
Circulation
Area
%
Area
ส่วนแสดงโลมา
ที่นั่งชมการแสดง
200
30%
260
260
ส่วนแสดงโชว์/บ่อฝึกสัตว์น้ำ
800
30%
180
980
ส่วนบ่อกักโรคสัตว์น้ำ
50
30%
15
65
บ่อพักสัตว์น้ำ
500
30%
150
650
ส่วนงานระบบ
40
40%
16
56
ส่วนห้องพักผู้ฝึก 2ห้อง
34
-
-
34
ห้องแต่งตัวผู้ฝึก2ห้อง
34
-
-
34
ห้องเก็บอาหารสัตว์
30
-
-
30
ห้องเก็บอุปกรณ์
35
40%
14
49
ห้องปฐมพยาบาลสัตว์น้ำ2ห้อง
20
40%
8
28
ส่วนห้องน้ำเจ้าหน้าที่2ห้อง
26
30%
738
33.8
ส่วนห้องควบคุม
25
-
-
25
2044.8


ส่วนองค์ประกอบรองของโครงการ

No
Type
Detail
Area
Circulation
Area
%
Area
ส่วนวิจัย
ส่วนห้องวิจัย
140
40%
56
196
ส่วนห้องทดลอง2ห้อง
280
40%
112
392
ส่วนห้องเก็บเอกสาร
25
30%
7.5
32.5
ส่วนห้องเก็บอุปกรณ์2ห้อง
70
-
-
70
ส่วนห้องจัดเตรียมอุปกรณ์
35
-
-
35
ส่วนห้องพักนักวิจัย
40
-
-
40
ส่วนห้องล้างอุปกรณ์
10
30%
3
13
ส่วนห้องพักทานอาหารนักวิจัย
40
30%
12
52
ส่วนห้องแต่งตัว2ห้อง
30
-
-
30
ส่วนห้องฆ่าเชื้อ2ห้อง
40
30%
12
52


No
Type
Detail
Area
Circulation
Area
%
Area
ส่วนห้องเก็บของ
35
40%
14
49
ส่วนห้องน้ำ
30
30%
9
39
ห้องล้างจาน
15
30%
4.5
19.5
บ่อเพาะพันธุ์
250
30%
75
325
ห้องเก็บอาหารสัตว์
30
-
-
30
ห้องปฐมพยาบาล2ห้อง
40
40%
16
56
ส่วนห้องประชุมนักวิจัย
20
-
-
20
1451


ส่วนสนับสนุนโครงการ

No
Type
Detail
Area
Circulation
Area
%
Area
ส่วนพื้นที่ขายของ
ส่วนขายสินค้า
200
30%
60
260
ส่วนทานอาหาร
ส่วนนั่งทานอาหาร
400
30%
120
520
ส่วนร้านค้า 8 ร้าน
15
30%
7.5
156
936


ส่วนบริหารโครงการ

No
Type
Detail
Area
Circulation
Area
%
Area
ส่วนบริหารโครงการ
ห้องพนักงาน
135
30%
40.5
175.5
ส่วนห้องประชุม
20
-
-
20
ห้องน้ำ
15
30%
4.5
19.5
215

ส่วนบรการโครงการ
No
Type
Detail
Area
Circulation
Area
%
Area
ส่วนบริหาร
ส่วนห้องพักเจ้าหน้าที่
20
30%
6
26
ส่วนห้องน้ำ 2ห้อง
30
30%
9
39
Loading
56
-
-
56
Generator
300
-
-
300
MDB
250
-
-
250
เครื่องปั้มน้ำหลัก
160
-
-
160
ห้อง PABX
100
-
-
100
ห้องเก็บขยะ
200
-
-
200
ห้อง Ciller
60
-
-
60
tank
300
-
-
300
Cooling tower
300
-
-
300
เครื่องสูบน้ำ
70
-
-
70
เครื่องปั้มน้ำเล็ก
120
-
-
120
ห้องเก็บของ 2 ห้อง
150
-
-
150
ส่วนตอกบัตร
7.20
30
2.2
9.4
No
Type
Detail
Area
Circulation
Area
%
Area
ส่วนห้องเก็บอุปกรณ์ 2 ห้อง
40
-
-
40
ส่วนรับประทานอาหาร
40
30%
12
52
ส่วนห้องซักล้าง 2 ห้อง
50
-
-
50
ห้องหัวหน้าแผนกบริการ
15
30%
4.5
19.5
ห้องแม่บ้าน
20
30%
6
26
ห้องแปลี่ยนเสื้อผ้า
17
30%
5.1
22.1
locker
40
20%
8
48
ห้อง ร.ป.ภ
15
-
-
15
ห้องAHU
60
-
-
60
บ่อพักน้ำทะเล
3120
3120
ส่วนระบบบำบัดน้ำทะเล
500
500
6193
ส่วนจอดรถ
No
Type
จำนวนคัน
Area
Circulation
%
Area
จอดรถผู้ใช้โครงการ
90
1125
100%
2250
จอกรถบัส
5
150
100%
300
จอกรถเจ้าหน้าที่
8
100
100%
200
จอดรถบริการ
4
50
100%
100
จอกรถผู้บริหาร
2
25
100%
50
2900









ที่มาข้อมูล  :   Naeufert   Architect’ s  Data              , กฎหมายเทศบัญญัติ , Case  Study , การคำนวณ ,Time- Saver  Standards



สรุปการเลือกทำเลที่ตั้ง
โดยใช้หลักเกณฑ์ในการให้คะแนนในการเลือกดังนี้
1.      แหล่งทรัพยากร (LOCAL RESOURCE) มีทรัพยากรที่เกื้อหนุนและสอดคล้องกับโครงการมากแค่ไหน
2.      ข้อจำกัดทางกฎหมาย (LAWS) มีข้อกำหนดทางกฎหมายที่เป็นอุปสรรคหรือเกื้อหนุนหรือไม่
3.      กิจกรรมหรือโครงการสนับสนุน (IMPORTANT LINKAGE) มีความเชื่อมโยงกับกิจกรรมพื้นที่หรือโครงการที่จะสนับสนุนให้ดีขึ้นหรือไม่
4.      ระบบการขนส่ง (TRANSPORTATION) มีเส้นทางคมนาคมระบบจราจรขนส่งอย่างไร
5.      ความปลอดภัย (SAFETY) มีความปลอดภัยแค่ไหน
โดยแบ่งระดับคะแนนดังนี้ (คะแนนเต็ม 25 คะแนน)

แหล่งทรัพยากร (LOCAL RESOURCE)  =  5

ข้อจำกัดทางกฎหมาย (LAWS)  =  5

กิจกรรมหรือโครงการสนับสนุน (IMPORTANT LINKAGE)  =  5

ระบบการขนส่ง (TRANSPORTATION) = 5

ความปลอดภัย (SAFETY)  =  5



ทำการเลือก SITE โดยวิเคราะห์จากสถานที่ที่เป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวและอยู่ติดกับถนนหลักและใกล้กับทะเลโดยจากการวิเคราะห์จะแยกได้เป็น ที่

 SITE01 พื้นที่ประมาณ 36,800ตรม.หรือ 23 ไร่



SITE01ใช้เวลาในการเดินทางจากตัวเมืองประจวบคีรีขันธ์ 30 นาที มีหาดและสถานที่ท่องเที่ยวที่สวยงาม เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่คึกคักมีนักท่องเที่ยวทั้งไทยและชาวต่างชาติ อยู่ใกล้สนามบินท่องเที่ยวและจุดพักรถทั่ว

SITE02 พื้นที่ประมาณ 31,200 ตร.มหรือ 19 ไร่













SITE02อยู่ใกล้กับแหล่งท่องเที่ยวและสถานที่พัก
SITE 03 พื้นที่ประมาณ 31,250 ตร.มหรือ 19 ไร่


SITE 03 สถานที่ที่เลือกอยู่ติดกับสถานที่ท่องเที่ยวและบริเวณศูนย์การค้า





จากการให้คะแนนการเลือกทำเลที่ตั้งของโครงการทั้ง 3 แห่งจะเห็นได้ว่าSITE01 บริเวณ มีศักยภาพที่เหมาะจะเป็นที่ตั้งโครงการพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำมากที่สุด เนื่องจากปัจจัยทางกายภาพในด้านต่างๆ

1.2.2 การกำหนดขนาดที่ตั้งโครงการ (Size of the Proposed Site)
การพิจารณาหาพื้นที่โครงการเบื้องต้นมีขั้นตอน ดังนี้
พื้นที่site
23 ไร่
23 x 1,600 = 36,800 ตร.ม
             
OSR  40 %             = 36,800 x 0.4
                         = 14,720ตร.ม
พื้นที่อาคารรวม          = 14,720x2
                            29,440
FAR                   = 14,720/2
                         = 7,360
36,800/7360                1:0.5
FAR                   = 1:0.5
สรุป
ขนาดพื้นที่ตั้ง 23 ไร่
Floor Area Ration 1 : 0.5
Open Space Ration 40 %